วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 2 เดือน ธันวาคม 2557
ชื่อ นางสาว อนุสรา แก้วชู กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ (The Knowledgo Gained)
      นำเสนอวิจัยกับโทรทัศน์ครู
วิจัย(Research)
-เรื่อง ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
-เรื่อง การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
-เรื่อง ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้
-เรื่อง การมีวิจารณ์ของเด็กปฐมที่ได้รับกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
-เรื่อง การจัดกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย
-เรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
-เรื่อง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
-เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
-เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
-เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับประสบการณ์จากการใช้กิจกรรมมุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการเล่นตามมุมวิทยาศาตร์อย่างมีแบบแผน
-เรื่อง การศึกษาความสามารถทางพหุปัญญาของเด็กปฐมวัยที่ได้การจัดกิจกรรมโดยใช้กระบวนวิทยาศาสตร์
-เรื่อง ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมที่ได้รับการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
-เรื่อง การสร้างชุดกิจกรรมทักษะเสริมสร้างวิทยาศาสตร์
-เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้เรียนรู้จิตวิทยาศาสตร์เรียนให้สนุก

       โทรทัศน์ครู(Teachers TV
-เรื่อง เสียงในการได้ยิน
-เรื่อง นักวิยาศาสตร์
-เรื่อง เรียนวิยาศาสตร์ผ่านขนม
-เรื่อง ทอดไข่สารพัดการสังเกต
-เรื่อง ผงวิเศษช่วยชีวิต
-เรื่อง กิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
-เรื่อง เจ้างูเต้นระบำ
-เรื่อง บ้านนักวิทยาศาสตร์  


        อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มที่เขียนแผน 5 คน แล้วช่วยกันทำแผ่นพับเรื่องสายสัมพันธ์ผู้ปกครองและนักเรียน โดยแจกกระดาษให้นักศึกษาทุกคน แล้วเลือกอันที่ดีที่สุดส่งอาจารย์เพียง 1 แผ่นนั้นเอง






การนำไปประยุกต์ใช้ (Application)  สามารถนำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยกับโทรทัศน์ครูมีประโยชน์และให้ความรู้ที่หลากหลายแตกต่างกันวันนี้สามารถเรียนรู้ได้หลายกหลายแนวทาง ทั้งยังประสานสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับครอบครัวของเด็กๆ และครูสามารถบอกความรู้ที่ผู้ปกครองจะสามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมที่บ้านได้อีกด้วย
ประเมิน (Evaluation)
  ตนเอง (Self)   ตั้งใจฟังการนำเสนอของเพื่อนๆมีการจดบันทึกสนใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมพูดคุยบ้างเล็กน้อยแต่งกายสุขภาพ
เพื่อน (Friend)  ตั้งใจเรียนมีการพูดคุยบ้างให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมดีมีการจดบันทึกข้อมูลแต่งกายสุขภาพเรียบร้อย

อาจารย์ (Teacher)  ให้คำแนะนำเพิ่มเติมให้นักศึกษามีความเข้าใจมากขึ้น



วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน 2557
ชื่อ นางสาว อนุสรา แก้วชู กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ (The Knowledgo Gained)  
นำเสนองานวิจัย( RESEARCH) และโทรทัศน์ครู(THAI TEACHER TV )
งานวิจัย( RESEARCH) 
1.เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย   
 - การเรียนรู้เรื่องสี คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก  สิ่งที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้นิยามศัพท์ ได้ทักษะการสังเกต  จำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์  ทักษะการลงความเห็น
2. เรื่อง การเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย  
  - กิจกรรมส่งให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับทักษะความรู้ ซึ่งแสงได้อยู่รอบๆตัวเรา และนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องของแสง  เพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะของเด็กปฐมวัย
3.เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมทำเครื่องดื่มสมุนไพร 
ทักษะที่ได้จากการทำกิจกรรม
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นเมื่อได้รับ
-ทักษะการสื่อความหมายของข้อมูล
โทรทัศน์ครู(THAI TEACHER TV )
1.เรื่อง การกำเนิดของเสียง 
-ได้ฝึกทักษะการคิด การทดลอง การใช้คำถามกับเด็ก เช่น เสียงต่างกันอย่างไร และ มาจากไหน
กิจกรรมนี้ใช้ได้กับเด็กปฐมวัย จะต้องเปลี่ยนแปลงกิจกรรมให้ง่ายกว่าเดิมเพื่อที่จะเหมาะสมกับเด็ก
2.เรื่อง สารอาหารในชีวิตประจำวัน
    - มโนทัศน์การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อนสิ่งที่เด็กต้องปฏิบัติ ช่วยกันวางแผนปรุงอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งที่กลุ่มเลือก และช่วยกันปรุงอาหารนั้น
3.เรื่อง  ไฟฟ้าและพันธุ์พืช 
    -สอนเรื่องการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้ยอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตการณ์เจริญเติบโตของพืช จากนั้น ให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธุ์พืช ซึ่งจากการที่เด็กได้ลงมือทำแล้ว มีสื่อ มีอุปกรณ์ให้เด็กได้ทำการทดลองเด็กก็จะเกิดทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์

กิจกรรมในห้องเรียน

การทำวาฟเฟิล





วัสดุอุปกรณ์ 
1. ไข่ไก่ egg
2. เนย Butter
3. แป้ง powder
4. น้ำ water
5. ถ้วย cup
6. ช้อน spoon
ขั้นตอนการทำ
- เริ่มผสมแป้งและตอกไข่ ใส่เนย เติมน้ำทีละนิด แล้วตีแป้งและส่วนประกอบอื่นๆให้เข้ากัน จนได้เนื้อแป้งที่ไม่เหลวและแข็งจนเกินไป
- เมื่อได้แป้งตามที่ต้องการ ตักใส่ถ้วยตวงเพื่อนำไปอบ ขณะเทแป้งลงเครื่องอบ ควรเทตรงกลางเพื่อให้แป้งสามารถกระจายได้ทั่วถึง เมื่ออบเสร็จแล้วจะได้ วอฟเฟิล น่าตาน่าทานค่ะ 
เป็นขั้นตอนง่ายๆไม่ซับซ้อนสามารถทำเอง และ สอนเด็กปฐมวัยได้อีกด้วย
การนำไปประยุกต์ใช้ (Application)   สามารถนำความรู้ที่ได้จากวิจัยและโทรทัศน์ครูไปปรับใช้ในการสอนและกิจกรรมการทำขนมวอฟเฟิลไปเป็นกิจกรรมที่ไม่มีขั้นตอนการทำที่ไม่ยุ่งยากสามารถนำไปใช้กับเด็กๆได้เด็กๆสามารถลงมือทำได้เอง   
ประเมิน (Evaluation)
ตนเอง (Self)  ตั้งใจฟังการนำเสนอมีการจดบันทึกมีความสนใจในกิจกรรมที่อาจารย์ให้นำมาทำแต่งกายสุขภาพเรียบร้อนมีการคุยบ้าง
เพื่อน (Friend) ตั้งใจฟังการนำเสนอมีการจดบันทึกถ่ายรูปขนานที่เพื่อนนำเสนองานให้ความสนใจในกิจกรรมที่อาจารย์นำมาให้ทำ
อาจารย์ (Teacher)   ให้คำแนะนำเพิ่มเติมบรรยายให้นักศึกษาเข้าใจ มีกิจกรรมในห้องเรียนมาให้ทำ



วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 18 เดือน พฤศจิกายน 2557
ชื่อ นางสาว อนุสรา แก้วชู กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ (The Knowledgo Gained)        
นำเสนอแผนการสอน
หน่วย นกหงส์หยก



หน่วย สับปะรด



หน่วย ส้ม




นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู
วิจัย

     1. การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.ให้เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การลงมือกระทำจริงด้วยตนเองการได้รับประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
2.จัดกิจกรรมตามสภาพจริง (Authentic activity) การจัดกิกรรมที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่เป็นการส่งเสริมดารเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
3. ด้านประสบการณ์เดิมของเด็ก (prior knowledge) การเรียนรู้สิ่งใหม่นั้นฐานมาจากประสบการณ์เดิมของเด็ก
4. สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็ก (Teacher and Child interaction) ครูต้องเป็นผู้ให้ คำแนะนำ กำลังใจ เอื้ออำนวยช่วยเหลือให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
5. สะท้อนความคิด (Reflective thinking) ระหว่างที่จัดกิจกรรมเรียนรู้ การสะท้อนความคิดเป็นลักษณะหนึ่งที่ต้องกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดไตร่ตรองถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการกระทำที่ปฏิบัติลงไป

          2.เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ความสำคัญของงานวิจัย
   ผลการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยได้แก่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และครู นำไปเป็นแนวทางในการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัยและการจัดการเรียนรูัตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อปลูกฝังการใช้ทรัพยากรได้อย่างเพียงพอตามวิถีชีวิตและความเหมาะสมตามวัย
ตัวแปรที่ศึกษา
1.ตัวแปลต้น คือ การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวัย
2.ตัวแปลตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย 3 ทักษะ
-ทักษะการจำแนกประเภท
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็น
นิยามศัพท์เฉพาะ
1.เด็กปฐมวัย
2.ทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย
3.การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์ครู
         1.       1.เรื่องรวมสีน้ำยาล้างจาน
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยมุ่งเน้นพัฒนาการ การทดลองเกี่ยวกับแรงตึงผิว เริ่มจากการเทน้ำนมใส่จาน หยดสีลงไปในนม(สีเป็นสีผสมอาหารปลอดภัยกับเด็ก)แล้วหยดน้ำยาล้างจานลงไป เราจะเห็นนมไหลเวียนแล้วพาสีวิ่งเป็นสายและลวดลายต่าง ๆ สาเหตุก็คือน้ำยาล้างจานทำให้แรงตึงผิวลดลงไป นมที่อยู่ใกล้น้ำยาล้างจานจึงแตกกระจายและนมจากส่วนอื่นก็ไหลมาแทนที่(กลายเป็น"กระแสนม")และวิ่งชนสีและพาสีวิ่งไปด้วย กลายเป็นลวดลายต่าง ๆ ตอนแรกลักษณะของสีก็เป็นหยด ๆ ไม่มีการกระจายตัว เพราะว่านมมีแรงตึงผิวที่พยายามจะยึดผิวหน้าของน้ำนมไว้(ซึ่งแรงตึงผิวนี้เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของของเหลว)แต่เมื่อเราหยดน้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ผสมลงน้ำนม น้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ทำให้สีสามารถกระจายตัวออกไปในน้ำนม เมื่อเด็ก ๆ เห็นการกระจายตัวของสี   เด็ก ๆ ตื่นเต้นและอยากที่จะออกมาเป็นตัวแทนในการทำการทดลอง เด็กทุกคนจะได้ปฏิบัติคนละหนึ่งขั้นตอน 
         2.เรื่องสร้างพื้นฐานกิจกรรมการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง 5
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อสร้างความพร้อมพื้นฐาน ให้กับเด็กในด้านสังคม ร่างกาย
 สติปัญญา
กิจกรรมสร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรมประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นการกระตุ้น ท้าทายความคิด ฝึกแก้ปัญหาและฝึกจินตนาการของมนุษย์ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะช่วยให้เด็กฉลาดได้
ครูใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน กระตุ้นให้เด็กเกิดการรับรู้ที่ดี ตลอดทั้งให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเอง และบุคคลอื่น 
กิจกรรมพัฒนาด้านสติปัญญา เสริมสร้างจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
    3.เรื่องกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     4.เรื่องดินน้ำมันลอยได้อย่างไร
สิ่งที่เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องการสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง ดินน้ำมันลอยน้ำได้อย่างไร
- เด็กได้ทักษะการสังเกตสีของดินน้ำมัน รูปทรงของดินน้ำมัน คือที่เด็กจะปั่นเป็นรูปร่างอย่างไร เมื่อปั่นแล้วเปลี่ยนแปลงรูปอะไรถึงลอยน้ำได้ 
- เด็กได้ลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง คิดด้วยตนเอง ปฎิบัติจริงด้วยตนเองและได้ออกแบบจากการคิดของเด็ก ซึ่งการออกแบบเป็นการบูรณาการไปยังเทคโนโลยี จากการออกแบบเกิดจากการตั้งสมมุติฐาน คือการคาดเดาของเด็กว่าปั่งยังไงหใดลอยน้ำ
- เด็กได้พัฒนาด้านการใช้ภาษา การสื่อสาร การอธิบาย การได้พูดคุยกัน เป็นการได้ทางสังคม

กิจกรรมในห้องเรียน



เทอริยากิ

อุุปกรณ์
1. ไข่ไก่ (Egg)
2.ข้าวสวย (Rice)
3.แครท (Carrot)
4.ต้นหอม (Ieek)
5.ปูอัด (a crab  compresses)
6.ซอสปรุงรส
7.เนย(Better)
วิธีทำ
1.ตีไข่ไก่ใส่ชชาม
2.นำส่วนประผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราที่พอดีกับไข่และผสมให้เข้ากัน
3.นำเนยทาที่หลุมกระทะ และนำส่วนผสมมาใส่

การนำไปประยุกต์ใช้ (Application)     ได้นำแผนการสอน และความรู้จากการดูโทรทัศน์ ครู งานวิจัยและการทำอาหารไปปรับใช้ในการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมต่างๆ
ประเมิน (Evaluation)
ตนเอง (Self)   ตั้งใจฟังการนำเสนองานของเพื่อนๆและสนใจกิจกรรมที่อาจารย์ มีการพูดคุยบ้างเล็กน้อยมีความสนใจในกิจกรรมที่อาจายร์ได้นำเอามาให้ทำ
เพื่อน (Friend)   ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนองานมีการพูดคุยบ้างเล็กน้อยสนใจและให้การร่วมมือในการทำกิจกรรมที่ให้ทำ
อาจารย์ (Teacher)   มีการแนะนำแผนการสอนเพิ่มเติม  มีกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำ