วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 18 เดือน พฤศจิกายน 2557
ชื่อ นางสาว อนุสรา แก้วชู กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.

ความรู้ที่ได้รับ (The Knowledgo Gained)        
นำเสนอแผนการสอน
หน่วย นกหงส์หยก



หน่วย สับปะรด



หน่วย ส้ม




นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู
วิจัย

     1. การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.ให้เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การลงมือกระทำจริงด้วยตนเองการได้รับประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
2.จัดกิจกรรมตามสภาพจริง (Authentic activity) การจัดกิกรรมที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่เป็นการส่งเสริมดารเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
3. ด้านประสบการณ์เดิมของเด็ก (prior knowledge) การเรียนรู้สิ่งใหม่นั้นฐานมาจากประสบการณ์เดิมของเด็ก
4. สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็ก (Teacher and Child interaction) ครูต้องเป็นผู้ให้ คำแนะนำ กำลังใจ เอื้ออำนวยช่วยเหลือให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
5. สะท้อนความคิด (Reflective thinking) ระหว่างที่จัดกิจกรรมเรียนรู้ การสะท้อนความคิดเป็นลักษณะหนึ่งที่ต้องกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดไตร่ตรองถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการกระทำที่ปฏิบัติลงไป

          2.เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ความสำคัญของงานวิจัย
   ผลการวิจัยในครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยได้แก่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และครู นำไปเป็นแนวทางในการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัยและการจัดการเรียนรูัตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อปลูกฝังการใช้ทรัพยากรได้อย่างเพียงพอตามวิถีชีวิตและความเหมาะสมตามวัย
ตัวแปรที่ศึกษา
1.ตัวแปลต้น คือ การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวัย
2.ตัวแปลตาม คือ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย 3 ทักษะ
-ทักษะการจำแนกประเภท
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็น
นิยามศัพท์เฉพาะ
1.เด็กปฐมวัย
2.ทักษะพื้นฐานทางวิทยาสตร์ของเด็กปฐมวัย
3.การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์ครู
         1.       1.เรื่องรวมสีน้ำยาล้างจาน
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยมุ่งเน้นพัฒนาการ การทดลองเกี่ยวกับแรงตึงผิว เริ่มจากการเทน้ำนมใส่จาน หยดสีลงไปในนม(สีเป็นสีผสมอาหารปลอดภัยกับเด็ก)แล้วหยดน้ำยาล้างจานลงไป เราจะเห็นนมไหลเวียนแล้วพาสีวิ่งเป็นสายและลวดลายต่าง ๆ สาเหตุก็คือน้ำยาล้างจานทำให้แรงตึงผิวลดลงไป นมที่อยู่ใกล้น้ำยาล้างจานจึงแตกกระจายและนมจากส่วนอื่นก็ไหลมาแทนที่(กลายเป็น"กระแสนม")และวิ่งชนสีและพาสีวิ่งไปด้วย กลายเป็นลวดลายต่าง ๆ ตอนแรกลักษณะของสีก็เป็นหยด ๆ ไม่มีการกระจายตัว เพราะว่านมมีแรงตึงผิวที่พยายามจะยึดผิวหน้าของน้ำนมไว้(ซึ่งแรงตึงผิวนี้เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของของเหลว)แต่เมื่อเราหยดน้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ผสมลงน้ำนม น้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ทำให้สีสามารถกระจายตัวออกไปในน้ำนม เมื่อเด็ก ๆ เห็นการกระจายตัวของสี   เด็ก ๆ ตื่นเต้นและอยากที่จะออกมาเป็นตัวแทนในการทำการทดลอง เด็กทุกคนจะได้ปฏิบัติคนละหนึ่งขั้นตอน 
         2.เรื่องสร้างพื้นฐานกิจกรรมการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง 5
เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อสร้างความพร้อมพื้นฐาน ให้กับเด็กในด้านสังคม ร่างกาย
 สติปัญญา
กิจกรรมสร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรมประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นการกระตุ้น ท้าทายความคิด ฝึกแก้ปัญหาและฝึกจินตนาการของมนุษย์ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะช่วยให้เด็กฉลาดได้
ครูใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน กระตุ้นให้เด็กเกิดการรับรู้ที่ดี ตลอดทั้งให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเอง และบุคคลอื่น 
กิจกรรมพัฒนาด้านสติปัญญา เสริมสร้างจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
    3.เรื่องกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
     4.เรื่องดินน้ำมันลอยได้อย่างไร
สิ่งที่เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องการสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง ดินน้ำมันลอยน้ำได้อย่างไร
- เด็กได้ทักษะการสังเกตสีของดินน้ำมัน รูปทรงของดินน้ำมัน คือที่เด็กจะปั่นเป็นรูปร่างอย่างไร เมื่อปั่นแล้วเปลี่ยนแปลงรูปอะไรถึงลอยน้ำได้ 
- เด็กได้ลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง คิดด้วยตนเอง ปฎิบัติจริงด้วยตนเองและได้ออกแบบจากการคิดของเด็ก ซึ่งการออกแบบเป็นการบูรณาการไปยังเทคโนโลยี จากการออกแบบเกิดจากการตั้งสมมุติฐาน คือการคาดเดาของเด็กว่าปั่งยังไงหใดลอยน้ำ
- เด็กได้พัฒนาด้านการใช้ภาษา การสื่อสาร การอธิบาย การได้พูดคุยกัน เป็นการได้ทางสังคม

กิจกรรมในห้องเรียน



เทอริยากิ

อุุปกรณ์
1. ไข่ไก่ (Egg)
2.ข้าวสวย (Rice)
3.แครท (Carrot)
4.ต้นหอม (Ieek)
5.ปูอัด (a crab  compresses)
6.ซอสปรุงรส
7.เนย(Better)
วิธีทำ
1.ตีไข่ไก่ใส่ชชาม
2.นำส่วนประผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราที่พอดีกับไข่และผสมให้เข้ากัน
3.นำเนยทาที่หลุมกระทะ และนำส่วนผสมมาใส่

การนำไปประยุกต์ใช้ (Application)     ได้นำแผนการสอน และความรู้จากการดูโทรทัศน์ ครู งานวิจัยและการทำอาหารไปปรับใช้ในการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมต่างๆ
ประเมิน (Evaluation)
ตนเอง (Self)   ตั้งใจฟังการนำเสนองานของเพื่อนๆและสนใจกิจกรรมที่อาจารย์ มีการพูดคุยบ้างเล็กน้อยมีความสนใจในกิจกรรมที่อาจายร์ได้นำเอามาให้ทำ
เพื่อน (Friend)   ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนองานมีการพูดคุยบ้างเล็กน้อยสนใจและให้การร่วมมือในการทำกิจกรรมที่ให้ทำ
อาจารย์ (Teacher)   มีการแนะนำแผนการสอนเพิ่มเติม  มีกิจกรรมมาให้นักศึกษาทำ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น